ต้องทุกข์ก่อนหรือถึงอยากจะเข้าวัด
คำถาม : จะทำอย่างไรกับคนที่มีความทุกข์ก่อนถึงอยากจะวัด แต่เวลามีความสุขไม่อยากมาคะ
อุทยชาดก ชาดกว่าด้วยบารมี 10 ทัศ
พระเจ้ากาสีทรงอภิเษกพระราชโอรสอุทัยภัทรและพระราชธิดาอุทัยภัทราซึ่งเป็นบุตรของตนทั้งสองพระองค์ พระราชโอรสและพระราชธิดาประทับอยู่ด้วยกันแต่ก็มิได้ทรงทำร้ายอินทรีย์ทอดพระเนตรกันด้วยความโลภ...ต่างก็ประพฤติพรหมจรรย์
อนาถบิณฑิกเศรษฐี (ยอดกัลยาณมิตร)
ผู้ใดถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ว่าเป็นสรณะแล้ว เห็นอริยสัจ ๔ ด้วยปัญญาอันชอบ คือ ทุกข์ และตัณหาอันเป็นแดนเกิดขึ้นแห่งทุกข์ ความก้าวล่วงทุกข์ และมรรคมีองค์ ๘ อันไปจากข้าศึก ให้ถึงพระนิพพานเป็นที่เข้าไประงับทุกข์ นี้แลเป็นสรณะอันเกษม นี้เป็นสรณะอันอุดม บุคคลอาศัยสิ่งนี้แล้ว ย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้
ติรัจฉานภูมิ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์ที่จุติจากมนุษย์ไปแล้ว จะกลับมาเกิดในพวกเทวดาหรือมนุษย์มีน้อย โดยที่แท้ สัตว์ที่จุติจากมนุษย์ไปแล้วกลับไปเกิดในนรก ในกำเนิดสัตว์เดรัจฉาน ในเปตติวิสัย มีมากกว่า ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะไม่เห็นอริยสัจ ๔ คือ ทุกข์ ทุกขสมุทัย ทุกขนิโรธ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะฉะนั้นแล เธอทั้งหลาย พึงกระทำความเพียรเพื่อรู้ตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา
เราจะใช้ทรัพย์อย่างไรให้เกิดประโยชน์สูงสุด
เวลาคือทรัพย์ที่ทุกชีวิตมี เราจะใช้ทรัพย์คือเวลาอย่างไรให้เกิดประโยชน์สูงสุด?
ทุกข์ไม่มีคนสืบทอดสมบัติ
คำถาม : มีคุณโยมท่านหนึ่งถามมาว่าผมรู้สึกเป็นทุกข์กับสมบัติที่มีจะทำอย่างไรดีครับ หากไม่มีผู้สืบทอดธุรกิจครอบครัว
จงอย่าทำร้ายผู้อื่นในทุกกรณี
เมื่อไม่ต้องการได้รับทุกข์โทษต่างๆ และไม่ต้องการเวรภัยอะไรกับใคร ก็อย่าไปทำร้ายใคร รวมทั้งอย่าไปติดร้ายใคร
เปรตหญิงสาวผู้หิวโหย
ในเปรตวิสัยนั้น ไม่มีกสิกรรม การเลี้ยงโคในเปรตวิสัยก็ไม่มี การค้าขายหรือการซื้อขายด้วยเงินก็ไม่มี สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงกาลล่วงสิ้นไปแล้ว ย่อมยังอัตภาพให้เป็นไปในเปรตวิสัยนั้น ด้วยทานอันเขาให้แล้วในมนุษยโลก
เทศกาลออกพรรษาที่เชียงตุง
พระพุทธศาสนาในเชียงตุง เราจะไม่ทอดทิ้งกัน แม้ว่าจะมีความหลากหลายของเชื้อชาติ และเผ่าพันธุ์ แต่วัดคือศูนย์รวมจิตใจ ให้ชาวเชียงตุงเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยไม่จำกัดว่า วัดนี้เป็นของใคร ส่วนใหญ่ชาวเชียงตุงจะมีวัดที่ไปบ่อยๆ หรือเป็นวัดที่บรรพบุรุษช่วยกันสร้าง แต่ประเพณีของเรา จะปลูกฝังให้ชาวเชียงตุงรักการทำบุญ และนิยมไปทำบุญกันหลายๆวัด จะเอาประเพณีเป็นตัวผลักดัน เรียกว่า สุข-ทุกข์ ก็ให้ไปวัด แม้ไม่มีอะไรมีแต่มือเปล่าก็มาวัดได้
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๒ ชนะสัจจก-นิครนถ์)
คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานแล้ว เป็นสิ่งที่มีค่าเอนกอนันต์ ทุกถ้อยคำที่พระพุทธองค์ทรงแนะนำสั่งสอน ชี้แนะหนทางสว่าง