รู้จักกายที่แท้จริงของตัวเอง
สัตว์อันราคะย้อมแล้ว ถูกกองอวิชชาหุ้มห่อแล้ว จักไม่เห็นธรรมอันละเอียด ลึกซึ้ง ยากที่จะเห็น ละเอียดยิ่ง อันจะยังสัตว์ให้ถึงธรรมที่ทวนกระแส คือ นิพพาน
ข่มใจไม่ให้ลุยกลับ
คำถาม: อยากฝึกให้เป็นคนมีน้ำอดน้ำทนค่ะ เวลาเจอคำพูดมากระทบทีไรก็อยากจะลุกไปลุยกับคนที่ว่าเราทันที แต่ก็รู้ว่าไม่ดีค่ะ
วันนี้วันที่ 60 นับจากวันเข้าพรรษา : สนุกปากลำบากตัวเอง
เหลืออีก 1 เดือน ก็จะออกพรรษาแล้ว เวลาผ่านไปเร็วเหลือเกิน พรรษา นี้ได้ชื่อว่า พรรษาแห่งการบรรลุธรรม คำเต็มก็คือ บรรลุพระธรรมกาย คือ พระ ที่มีอยู่ในตัวของมนุษย์ทุก ๆ คน ไม่ว่าจะเชื้อชาติศาสนาหรือเผ่าพันธุ์ใด จะรู้ หรือไม่รู้ เชื่อหรือไม่เชื่อก็ตาม ล้วนมีพระธรรมกายด้วยกันทั้งสิ้น
วันนี้วันที่ 59 นับจากวันเข้าพรรษา : บางสิ่งที่แสวงหา
นับจากวันเข้าพรรษาได้ 59 วันแล้ว เหลือเวลาอีกแค่หนึ่งเดือนกับหนึ่ง วัน ก็จะออกพรรษากันแล้ว พรรษานี้ได้ชื่อว่า พรรษาแห่งการบรรลุธรรม คือ บรรลุพระธรรมกาย ซึ่งเป็นพระภายในตัวของเราและของทุกคนในโลก ไม่ว่า จะมีเชื้อชาติศาสนาและเผ่าพันธุ์ใด จะเชื่อหรือไม่เชื่อ รู้หรือไม่รู้ก็ตาม ทุกคน ล้วนมีพระธรรมกายอยู่ภายในกายทั้งสิ้น
ละความโกรธกันเถิด
ความโกรธย่อมเกิดขึ้นแก่คนพาล ผู้โฉดเขลาไม่รู้จริง เพราะความแข่งดี แม้เขาก็ถูกความโกรธนั้นเผาลนใจให้เร่าร้อน ความโกรธเจริญขึ้นแก่ผู้ใด ก็เป็นดุจไฟเจริญขึ้นในกองหญ้าและไม้ ยศของบุคคลนั้นย่อมเสื่อมไป เหมือนพระจันทร์ข้างแรมฉะนั้น ส่วนความโกรธของผู้ใดสงบลงได้ ประดุจไฟที่ไม่มีเชื้อ ยศของผู้นั้นย่อมเต็มเปี่ยม เหมือนพระจันทร์ข้างขึ้น ฉะนั้น
ความในใจของพระลูกชาย ตอน บวชฝึกใจ
ตอนนี้ผมยิ่งรู้คุณค่าของการบวช การบวชทำให้สำเร็จมรรคผลนิพพานได้จริง ผมอยากให้ลูกผู้ชายทั้งโลกได้มาบวช ได้มาเห็นองค์พระแบบนี้ ทุกคนจะได้มีความสุขและรู้คุณค่าของชีวิต
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๑)
ช่วงชีวิตของคนเรานั้นสั้นนัก การยอมเสียเวลาเพื่อลงทุนทำอะไรสักอย่างหนึ่ง จะต้องใคร่ครวญให้ดี เพื่อให้คุ้มค่ากับเวลาและเงินตราที่เสียไป
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๕ ชนะสัจจกนิครนถ์)
การฝึกฝนใจให้หยุดนิ่ง เป็นสิ่งสำคัญสำหรับชีวิตของเราทุกคน เพราะชีวิตของผู้มีใจหยุดดีแล้ว เป็นชีวิตที่ประเสริฐ มีพลัง มีความบริสุทธิ์ มีอานุภาพที่จะทำความดี เอาชนะความชั่ว
การทำสมาธิภาวนาเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย
การทำสมาธิภาวนาเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย เป็นการปฏิบัติตามหลักทางสายกลาง โดยการฝึกใจให้หยุดนิ่ง อยู่ภายในกลางกายของเรา(ศูนย์กลางกายฐานที่ 7)อย่างต่อเนื่อง ในอารมณ์ที่สบาย เป็นการดึงใจซัดซ่านไปในอารมณ์ต่างๆในความคิดต่างๆ
มหาปูชนียาจารย์ (3)
ดูก่อนวักกลิ ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นชื่อว่าเห็นเรา ผู้ใดเห็นเรา ผู้นั้นชื่อว่าเห็นธรรม