เกิดในโลก แต่ไม่ติดในโลก
ดอกบัวอาศัยเกิดในน้ำและเปือกตม แต่เมื่อเจริญโผล่พ้นผิวน้ำแล้ว กลับไม่ติดด้วยน้ำและเปือกตม เป็นธรรมชาติที่น่าอัศจรรย์ทีเดียว
The Attainment of Nirvana
Nirvana is the place where suffering cannot access. It is above the rule of the Three Characteristics In that place there is no birth. Getting old, suffering from disease, death, or rebirth
ความชั่วแม้เล็กน้อยไม่ควรทำ
ผู้ไม่มีกิเลสดุจเนิน มีปกติแสวงหาความสะอาดอยู่เป็นนิตย์ บาปประมาณเท่าขนทรายจะปรากฏแก่เขาประดุจเท่ากลีบเมฆ
เทพบุตรมาร (๓)
ชนเหล่าใดจักสำรวมจิตนี้ ซึ่งไปได้ไกล เที่ยวไปโดดเดี่ยว ไม่มีรูปร่าง มีถ้ำเป็นที่อยู่อาศัย ชนเหล่านั้น จักพ้นจากบ่วงแห่งมารได้
Thoroughly Attaining Nirvana.
Is there any place in the world that is without suffering? No. How come Prince Siddhartha became ordained?
The Four Noble Truths : 4. Explanation of the Noble Truth of the Path to the End of Suffering
The Lord Buddha’s explanation of the Path to the End of Suffering includes all four of the Path to the End of suffering’s implications in the light of the Four Noble Truths:
2012 วันสิ้นโลก หมอลักษณ์ฟันธง ! ตอนที่ 2
ข้อคิดรอบตัว - วันสิ้นโลก ปี 2012 ตอนที่ 2 หมอลักษณ์ ให้ความเห็นทางโหราศาสตร์ โลกจะแตกหรือ? ทางพระพุทธศาสนา ไฟบรรลัยกัลป์ พระอาทิตย์ 7 ดวง, น้ำบรรลัยกัลป์ ฝนกรด, วันสิ้นโลกเพราะกิเลสมนุษย์ รายละเอียดจะเป็นอย่างไร ติดตามได้ใน ข้อคิดรอบตัว
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - ตั้งเป้าหมายชีวิต ลิขิตอนาคต
ถ้าตัวเองยังไม่มีศรัทธา ก็ตั้งตนไว้ในศรัทธา ถ้าตัวเองเป็นคนตระหนี่ ก็ตั้งเป้าหมายทำทานให้ได้สม่ำเสมอ ถ้าตัวเองยังไม่มีศีล ก็ตั้งเป้าหมายให้รักษาศีลได้บริสุทธิ์บริบูรณ์ ดังเช่นโจรที่กลับตัวกลับใจ ปรับแนวทางชีวิตของตน ให้มุ่งตรงต่อสวรรค์นิพพานได้ทัน ดังเรื่องมีอยู่ว่า
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - สารธรรมของชีวิต
มนุษย์ทุกคนที่เกิดมา ต่างแสวงหาทางหลุดพ้นจากความทุกข์ ซึ่งเป็นสาระที่แท้จริงสำหรับชีวิต แต่เนื่องจากปัญญาและวิจารณญาณที่แตกต่างกัน ทำให้มีการแสวงหากันไปต่างๆ นานา พบทั้งสิ่งที่ถูกต้องและไม่ถูกต้อง ยิ่งถ้าขาดกัลยาณมิตร ก็เหมือนกับคนเดินทางในที่มืด
จดหมายจากประเทศจีน (2)
แต่ภายหลัง พอได้อ่านหนังสือ เมื่อไม่รู้จะอ่านอะไร ที่รวบรวมโอวาทของคุณครูไม่ใหญ่เกี่ยวกับการปฏิบัติธรรม และหนังสือแนะนำการนั่งสมาธิ ถึงได้รู้ว่า การนั่งสมาธิต้องใช้หลักการ พอดี รู้ถึงวิธีการเดินสายกลาง มัชฌิมาปฏิปทา ยิ่งไปกว่านั้นได้ตระหนักถึงคำว่า ปล่อยวาง ผ่อนคลาย เบาสบาย มากยิ่งขึ้น