กฎแห่งกรรม
กฎแห่งกรรม กรรมลิขิต คนเกิดมารับกรรมจริงไหม ? กรณีศึกษาตัวอย่างของกฎแห่งกรรม ตายแล้วไปไหน ไปอย่างไร หาคำตอบได้ที่นี่ ที่เดียว
ผู้ชนะสิบทิศ ตอนที่่ ๓ ( ท่องทั่วโลกธาตุ )
มีคำหนึ่งที่ทุกท่านได้ยินกันบ่อยๆ คือคำว่า อนันตจักรวาล หมาย ถึง จำนวนจักรวาลที่นับไม่ถ้วน ดังข้ออุปมาเพื่อให้ทุกท่านพอจะนึกภาพออก สมมติว่า ถ้าเราเอาแสนโกฏิจักรวาลที่กล่าวมานั้น ทำให้เป็นพื้นที่ว่างๆ
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - คิดก่อน พูดก่อน ทำก่อน ได้ก่อน
กุฎุมพีชื่อว่า เวเทหะ มีทรัพย์สมบัติ ๘๐ โกฏิ เป็นผู้มีศรัทธาในพระพุทธศาสนามากได้เข้าไปถวายนมัสการพระบรมศาสดาและกราบทูลถามว่า "วันพรุ่งนี้ ขอพระองค์ทรงเมตตารับภิกษาของข้าพระองค์เถิด" พระบรมศาสดาตรัสว่า "มี ๖,๘๐๐,๐๐๐ รูป"แม้จะมีพระภิกษุสงฆ์มากมายถึงเพียงนี้ อุบาสกก็ไม่วิตกกังวล กลับมีความปีติเบิกบานใจ ที่จะได้ถวายทานแด่ภิกษุจำนวนมากมายถึงเพียงนั้น
ลักษณะมหาบุรุษ (2)
สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและประณีตได้
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 58 การบังเกิดขึ้นของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นการยาก (6)
กว่าจะได้มาเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทุกๆพระองค์จะต้องทรงผ่านการบำเพ็ญเพียรและสั่งสมบารมีอย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน เป็นเวลายาวนาน
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 26 ยุคศิวิไลซ์อันน่าอัศจรรย์ (6)
สังคมในยุคนั้น จะเป็นสังคมที่มีแต่คนดีล้วนๆ เพราะทุกๆพื้นที่บนโลก จะไม่มีคนพาล ไม่มีคนชั่ว
มนุษย์มาจากไหน เหตุใดจึงเรียกว่ามนุษย์
การเวียนว่ายตายเกิดอยู่ใน 31 ภูมินั้น หากเราจะเปรียบเทียบสัตว์ที่อยู่ในภูมิอื่นๆ กับภูมิมนุษย์แล้ว จะพบว่า สัตว์ที่เกิดในภูมิมนุษย์นั้นมีจำนวนน้อยมาก
เส้นทางสู่ปรโลก
สุขในโลกนี้และโลกหน้าจะมีแก่คนทำบุญไว้เท่านั้น ผู้มีความประสงค์อยู่ร่วมกับทวยเทพทั้งหลาย ควรกระทำกุศลกรรมให้มากไว้ เพราะผู้ที่มีบุญอันทำไว้ดีแล้ว ย่อมพรั่งพร้อมด้วยโภคสมบัติ และย่อมบันเทิงในสุคติโลกสวรรค์
วิสาขามหาอุบาสิกา (สร้างบุพพาราม)
นายมาลาการพึงทำพวงดอกไม้ให้มาก จากกองดอกไม้แม้ฉันใด มัจจุสัตว์ผู้มีอันจะต้องตายเป็นสภาพ ควรทำกุศลไว้ให้มากฉันนั้น
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - ประพฤติธรรม คือ เรื่องสำคัญของชีวิต
สังขารร่างกายของเราก็เช่นเดียวกัน ความแก่ ความเจ็บ ความตายได้คืบคลานเข้ามาในชีวิตเรา ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทุกอนุวินาที โดยที่ตัวเราก็สังเกตไม่ออก เมื่อเวลาผ่านไป ๑๐ ปี ๒๐ ปี ๖๐ ปี จึงรู้ว่าเราแก่ลงทุกขณะ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ต่อเนื่องกันไปสู่ความเสื่อมสลาย ดังนั้น เราจึงไม่ควรประมาทในชีวิต