มาร ๕ ฝูง
ประทีปที่ส่องแสง ถ้ามีแสงน้อย ย่อมดับไปด้วยลมได้ เหมือนเถาวัลย์ที่เหี่ยวแห้งไป ฉันใด ท่านก็จงเป็นผู้ไม่ถือมั่น แล้วกำจัดมาร ผู้มีโคตรเสมอด้วยพระอินทร์ฉันนั้นเถิด เมื่อท่านกำจัดมารได้อย่างนี้แล้ว เป็นผู้ปราศจากความกำหนัดพอใจในเวทนาทั้งหลาย จะเป็นผู้มีความเย็น รอคอยเวลานิพพานในอัตภาพนี้ทีเดียว
พระอริยเจ้า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นเหตุให้หมู่สัตว์ถูกธรรมนั้นหุ้มห่อ แล้วท่องเที่ยวไปสิ้นกาลนาน เหมือนหมู่สัตว์ผู้ถูกโมหะหุ้มห่อแล้ว ไม่มีเลย ส่วนพระอริยสาวกเหล่าใด ละโมหะแล้ว ทำลายกองแห่งความมืดได้แล้ว พระอริยสาวกเหล่านั้นย่อมไม่ท่องเที่ยวไปอีก เพราะอวิชชาอันเป็นต้นเหตุแห่งสงสาร ย่อมไม่มีแก่พระอริยสาวกเหล่านั้น
ธรรมกาย กายมาตรฐาน
สรีรยนต์นี้ ถูกกรรมปรุงแต่งทำให้เป็นนครแห่งกระดูกทั้งหลาย ฉาบด้วยเนื้อและโลหิต เป็นที่ตั้งลงแห่งชรา มรณะ มานะ และมักขะ
กฎหมายกับกฎแห่งกรรม
กฎหมายกับกฎแห่งกรรมแตกต่างกันอย่างไร? ผู้คนส่วนใหญ่เกรงกลัวกฎหมายหรือกฎแห่งกรรมมากกว่ากัน? กฎแห่งกรรมมีการลดโทษให้คนที่ทำบาปบ้างไหม?
พระมหากัปปินเถระ
บุคคล ผู้เอิบอิ่มในธรรม มีใจผ่องใส ย่อมอยู่เป็นสุข บัณฑิต ย่อมยินดีในธรรมที่พระอริยเจ้า ประกาศแล้วทุกเมื่อ
คําศัพท์ภาษาอังกฤษน่ารู้ ตอน The Lord Buddha Part 8
ติดตามเรื่องเกี่ยวกับพระสัมมาสัมพุทธเจ้า The Lord Buddha's History Part #8 ประวัติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 8 พระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้ทรง สถาปนาพระพุทธศาสนา
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 68 ธรรมสโมธาน การประมวลรวมกันแห่งธรรม
พระโพธิสัตว์จะต้องมีธรรมที่สำคัญอันจะเป็นเครื่องยืนยันการตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งในอนาคต นั่นคือ ธรรมสโมธาน
นกน้อยผู้มีจิตเลื่อมใส
“เอวํ อจินฺติยา พุทฺธา พุทฺธธมฺมา อจินฺติยา อจินฺติเยสุ ปสนฺนานํ วิปาโก โหตฺยจินฺติโย พระพุทธเจ้าเป็นอจินไตย พระธรรมของพระพุทธเจ้าก็เป็นอจินไตย วิบากของเหล่าชนผู้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้าและพระคุณของพระองค์ก็เป็นอจินไตยเช่นกัน” (ขุททกนิกาย อปทาน)
ทำไมเขานุ่งกางเกงแดง
จนรุ่งเช้า แม่มาเล่าให้ฟังว่า คุณป้าข้างเตียง ที่เฝ้าไข้สามีของเขาในห้องเดียวกับพ่อ เล่าว่า คุณป้าเห็นคนใส่กางเกงสีแดง 3 คน เดินฝ่าประตูห้องเข้ามา ทันที่ที่ป้าเห็น เธอตกใจกลัวมาก
ธรรมกาย ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาทยุคต้น
“ธรรมกาย” เป็นคำที่คุ้นเคยกันดีในหมู่ชาวพุทธ แต่ความหมายของธรรมกายในใจของชาวพุทธแต่ละกลุ่มอาจไม่เหมือนกัน เมื่อความเข้าใจเรื่องธรรมกายในหมู่ชาวพุทธแตกต่างกันอย่างนี้ จึงน่าศึกษาว่า คำว่า “ธรรมกาย” ในคำสอนเก่าแก่ที่เก็บรักษาไว้โดยชาวพุทธในแต่ละท้องถิ่นนั้นเป็นอย่างไร....