พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 19 ความปลื้มปีติอันไม่มีประมาณ
เมื่อพระอชิตะได้รับพุทธพยากรณ์ในความเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจากพระบรมศาสดาแล้ว ความปลื้มปีติโสมนัสอย่างหาที่สุดมิได้ ก็พลันบังเกิดขึ้น
วัดบึงพลาญชัย
วัดบึงพลาญชัยเป็นวัดพระอารามหลวงชั้นตรี ตั้งอยู่ที่ถนนประชาธรรมรักษ์ อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด มีเนื้อที่ ๑๐ ไร่เศษ เป็นศูนย์อบรมศึกษาของพระธรรมกถึกภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้ง ๑๙ จังหวัด มีพระภิกษุและสามเณรจำพรรษาประมาณ ๑๓๐ รูป
รัตนตรัยที่พึ่งแหล่งสุดท้าย
พรหมจรรย์อันเรากล่าวดีแล้ว ผู้ปฏิบัติจะพึงเห็นเอง เป็นธรรมอันไม่จำกัดด้วยกาล ผู้ใดศึกษาโดยไม่ประมาท ผู้นั้นย่อมไม่เป็นโมฆ
ทำดีต้องไม่มีข้อแม้
สิ่งประดิษฐ์และสิ่งอัศจรรย์ของโลก ล้วนเกิดขึ้นจากบุคคลผู้ไม่ยอมแพ้ต่อปัญหาอุปสรรค เพราะความทุกข์ความไม่พร้อมเป็นของคู่โลก
จันทกินรีชาดก-ชาดกว่าด้วยความผูกพันจงรักภักดี
ครั้งเมื่อพระพุทธศาสดาเสด็จสู่แคว้นสักกะแห่งศากยวงศ์ พร้อมพระโมคคัลลานะ พระสารีบุตร อัครสาวกเบื้องซ้ายและขวาและสังฆสาวกทั้งมวล พุทธกาลครั้งนั้นสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้เสด็จไปยังกรุงกบิลพัสดุ์นครหลวงของแคว้นสักกะ เพื่อแสดงธรรมโปรดพระเจ้าสุทโธทนะพระราชบิดา
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 18 พระอชิตะได้รับพุทธพยากรณ์
พระสมณโคดมสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประทานพุทธพยากรณ์แก่พระอชิตะว่า “ท่านอชิตภิกษุรูปนี้ จักได้ตรัสรู้ธรรมเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์สุดท้ายของภัทรกัปนี้
พระเรวตขทิรวนิยเถระ เอตทัคคะมนทางผู้อยู่ป่า
สามเณรเรวตะเป็นน้องชายของพระสารีบุตรผู้เป็นพระอัครสาวกเบื้องขวาขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้หนีการแต่งงานไปออกบวชในป่าตอนอายุ ๗ ขวบ และอาศัยอยู่ในป่าไม้ตะเคียนเพื่อประพฤติปฏิบัติธรรม ได้บรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ในป่าไม้ตะเคียนนั้น
ทำอย่างไรจึงจะแก้ไขนิสัยวู่วามความเจ้าอารมณ์ของตนเองได้
คนที่วู่วามเจ้าอารมณ์ คือคนที่ห้ามอารมณ์ห้ามใจตัวเองไม่ได้ เพราะสติหย่อน ใจไม่ตั้งมั่นพอ
วันเข้าพรรษา เรื่องเล่าเข้าพรรษา ตอนที่ 2
เรื่องเล่าเข้าพรรษา สำหรับท่านที่อยากจะเพิ่ม เพิ่มให้ได้บุญบารมีเต็มๆ ให้สมกับเข้าพรรษานี่ล่ะ อยากจะอธิษฐานอะไรเพิ่มเติมก็ทำไป เอาให้เต็มกำลัง เหมือนใคร ก็เหมือนอย่างกับท่านที่เข้ามา บรรพชาอุปสมบทในรายการบรรพชาอุปสมบท 1 แสน ทั่วประเทศไทยครั้งนี้นี่แหละ
ติตติรชาดก ชาดกว่าด้วยความเคารพอ่อนน้อม
นิทานชาดกเรื่องติตติรชาดก ชาดกว่าด้วยความเคารพอ่อนน้อม “ขณะที่เรายังมีชีวิตอยู่ ภิกษุทั้งหลายยังไม่มีความยำเกรงกัน ถ้าหากเราปรินิพพานไปแล้ว ภิกษุทั้งหลายจะเป็นอย่างไร”