นันทชาดก-ชาดกว่าด้วยความมานะถือตัว
เมื่อฤดูฝนอย่างกรายมาถึงพระภิกษุทั้งหลายก็อยู่จำพรรษาตามพุทธบัญญัติ มิได้ออกเที่ยวจาริกที่ใดๆได้ตามปกติเป็นเวลานาน 3 เดือน ครั้นวสันตฤดูผ่านพ้นภิกษุในพระเชตะวันมหาวิหารก็พร้อมที่จะเดินทางออกไปเผยแผ่พุทธธรรมดังที่เคยกระทำต่อเนื่องกันมาอีกครั้ง
ปัณฑรกชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษการเปิดเผยความลับแก่ผู้อื่น
ปลายพุทธกาลวาระหนึ่ง เมื่อภิกษุในธรรมสภาปรารภถึงพระเทวทัตเถระซึ่งถูกทรณีสูบลงไปยังยมโลกเหตุเพราะก่อพุทธประหาร เทวทัตซึ่งนับเป็นพระญาติอันมากด้วยริษยาต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้นี้ทรยศหักหลังมิตร
การสร้างบารมีแบบเอาชีวิตเป็นเดิมพัน
พระธรรมเทศนา โดย พระภาวนาวิริยคุณ (หลวงพ่อทัตตชีโว) รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย
ความกตัญญูกตเวทีดีอย่างไร - หลวงพ่อตอบปัญหา
ความกตัญญูทำให้ชีวิตคนเรามีความเจริญรุ่งเรืองจริงหรือไม่, ความกตัญญูจะก่อให้เกิดปัญญาได้อย่างไร, จะสอนให้คนเรามีความกตัญญูได้อย่างไร
โภชาชานียชาดก-ชาดกว่าด้วยความเพียรอันยิ่งใหญ่
พุทธกาลครั้งนั้น ณ เชตวันมหาวิหารในนครสาวัตถี สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงมีพระเมตตาธิคุณต่อพระภิกษุรูปหนึ่งซึ่งกำลังเบื่อหน่ายคลายความเพียรลง ทรงอนุเคราะห์ด้วยพุทธวาจาว่า “ดูก่อนภิกษุ บัณฑิตในกาลก่อนนั้นได้ทำความเพียรที่ไม่น่าจะทำได้ แม้ได้รับบาดเจ็บสาหัสเพียงใด ก็มิได้ละความเพียร” แล้วพระพุทธองค์ก็ทรงระลึกชาติด้วย บุพเพนิวาสนุสติญาณด้วยชาดกขึ้นเรื่องหนึ่ง โภชาชานียชาดก ความเพียรอันยิ่งใหญ่
อลีนจิตตชาดก ชาดกว่าด้วยกัลยาณมิตร
ณ นครสาวัตถีมีภิกษุรูปหนึ่งเมื่อบวชแล้วก็ไม่สามารถบรรลุในพระธรรมได้สักที ภิกษุรูปนี้หมดความหวัง ละความเพียรที่จะปฏิบัติธรรมอีกต่อไป
เข้าพรรษา ช่วงเวลาแห่งการแก้ไขตัวเอง
วันเข้าพรรษา พระธรรมเทศนา โดย พระภาวนาวิริยคุณ (หลวงพ่อทัตตชีโว)เรื่องเข้าพรรษา ช่วงเวลาแห่งการแก้ไขตัวเอง
เทวธรรมชาดก-ชาดกว่าด้วยธรรมของเทวดา
“ดูก่อนภิกษุในศาสนาของเรานี้ ล้วนสรรเสริญคุณของความเป็นผู้มักน้อย สันโดษ รักสงบ เพียรผลาญกิเลสให้สิ้นไปมิใช่หรือ? แล้วทำไมท่านกลับถึงทำสิ่งไม่ควรเช่นนี้เล่า” พระภิกษุเจ้าสำรวย ได้ฟังคำพระพุทธเจ้าแล้ว แทนที่จะสำนึกผิดกลับบันดาลโทสะ ประชดประชัน ทำสิ่งมิควรอีก
ความสำคัญของอาคาร 100 ปีคุณยายอาจารย์
มาตุโปสกชาดก-ชาดกว่าด้วยพญาช้างยอดกตัญญู
ในสมัยหนึ่งครั้งเมื่อพระพุทธเจ้าประทับอยู่วัดเชตะวันเมืองสาวัตถี ได้เกิดเรื่องราวถกเถียงกันในหมู่สงฆ์ ถึงเรื่องวินัยสงฆ์ของภิกษุผู้เลี้ยงมารดารูปหนึ่ง ภิกษุที่ว่านี้เมื่อออกบวชในพุทธศาสนาก็ไม่สามารถปฏิบัติธรรมอย่างจริงจังได้ เพราะต้องคอยมาปรนนิบัติผู้เป็นมารดาที่อาศัยอยู่ในบ้านตามลำพัง