วัดพระธรรมกาย จัดงานวันครูวิชชาธรรมกาย
วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี ได้จัดพิธีบูชาครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย เนื่องในวันครูวิชชาธรรมกาย
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - ปลอดภัยเพราะอาศัยผู้รู้
ในอดีตกาล ที่เกาะตัมพปัณณิทวีป มีเมืองยักษ์ชื่อ สิริสวัตถุ เป็นที่อยู่อาศัยของพวกนางยักษิณี เมื่อเรือของพ่อค้าอับปางลง พวกนางยักษิณีรู้ว่า เหยื่ออันโอชะกำลังมาถึง จึงพากันประดับตกแต่งร่างกาย ถือของขบเคี้ยวของบริโภค พวกนางต่างเล้าโลมเหล่าพ่อค้าด้วยมารยาหญิง และพาพ่อค้าไปเมืองยักษ์ทันที เหตุการณ์ต่อไปจะเป็นอย่างไรนั้น
อานิสงส์ถวายสังฆทาน
ด้วยกรรมที่ทำสังฆทานไว้ดีแล้ว และด้วยการตั้งเจตจำนงไว้ เราละร่างมนุษย์แล้ว ได้ไปสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เราได้เสวยราชสมบัติในเทวโลก ๓๐๐ ครั้ง และได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๕๐๐ ครั้ง เป็นพระเจ้าประเทศราชอันไพบูลย์โดยคณานับมิได้ เพราะกรรม คือการถวายสังฆทานนั้นนำไป เราจึงมีความสุขในที่ทุกสถาน
บุรพกรรมของพระพุทธองค์ # 1
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจะฟังกรรมที่เราทำแล้วของเรา เราเห็นภิกษุผู้ถือการอยู่ป่าเป็นวัตรรูปหนึ่ง แล้วได้ถวายผ้าเก่า เราปรารถนาเป็นพระพุทธเจ้าเป็นครั้งแรก
บุญมากบรรลุธรรมง่าย
บุญเป็นต้นทุนแห่งความสำเร็จในทุกสิ่ง คนมีบุญมากความสุขความสำเร็จมาก มีบุญน้อยความสุขความสำเร็จก็น้อย
พิธีเฉลิมฉลองวาระครบ 25 ปี การทำงานเผยแผ่ในอินเดียของพระนันทปาล มหาเถโร
คณะสงฆ์และสาธุชน ร่วมพิธีมุทิตาเนื่องในวาระอายุวัฒนมงคล 80 ปี หลวงพ่อธัมมชโย พร้อมทั้งพิธีอัญเชิญองค์พระธรรมกายประดิษฐาน เป็นครั้งแรกในประเทศอินเดีย และพิธีปิดโครงการอบรมสามเณร 500 รูป ประเทศอินเดีย
โอวาทที่เหมาะสม
พระตถาคตทรงรู้วาจาใด จริง แท้ เป็นประโยชน์ และวาจานั้นไม่เป็นที่รักที่ชอบใจของชนเหล่าอื่น ในวาจานั้น พระตถาคต ก็ทรงเป็นผู้รู้จักกาล เพื่อพยากรณ์วาจานั้น พระตถาคตทรงรู้วาจาใด จริง แท้ เป็นประโยชน์ และวาจานั้นเป็นที่รักที่ชอบใจของชนเหล่าอื่น ในวาจานั้น พระตถาคตก็เป็นผู้รู้จักกาล เพื่อพยากรณ์วาจานั้น
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - มีไมตรีจิตต่อกัน
ข้าแต่พญาหงส์ ในยามผลดกนกทั้งหลายก็ชุม แต่พอผลวายนกทั้งหลายก็ไปไม่เหลียวแล ตอนมีผลประโยชน์ใครๆ ก็เห็นคุณค่า แต่ตอนที่หมดประโยชน์ ใครบ้างเล่าจะนึกถึงผู้มีอุปการคุณ เราจะไม่ไปไหนทั้งนั้น ต้นไม้นี้เป็นทั้งเพื่อน เป็นทั้งญาติของเรา เราต้องการเป็นอยู่เพียงเท่านี้ ขอเพียงได้ร่วมทุกข์ร่วมสุขกับต้นไม้ที่มีพระคุณกับเราเท่านั้น
มงคลที่ ๓๓ เห็นอริยสัจ - ผู้ดื่มรสแห่งธรรม
ภิกษุผู้ที่เล่าเรียนพระปริยัติธรรมเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถตอบได้แม้แต่ข้อเดียว จึงนั่งก้มหน้านิ่งอยู่ ส่วนภิกษุผู้ปฏิบัติธรรมจนเป็นพระอรหันต์ สามารถตอบปัญหาธรรมได้ทุกข้อ อย่างแจ่มแจ้งฉะฉานไม่มีติดขัด พระพุทธองค์จึงทรงสรรเสริญ ชื่นชม อนุโมทนาสาธุการพระเถระ
ความวิเศษสุดของพระพุทธศาสนา
ภิกษุผู้ตั้งอยู่ในศีล สำรวมในอินทรีย์ทั้งหลาย รู้จักประมาณในโภชนะ หมั่นประกอบความเพียร ภิกษุผู้มีปกติพากเพียรอยู่อย่างนี้ ไม่เห็นแก่นอน ไม่เกียจคร้านทั้งกลางวันและกลางคืน เจริญกุศลธรรมเพื่อบรรลุคุณอันเกษมจากโยคะ ผู้ยินดีในความไม่ประมาท มีปกติเห็นภัยในความประมาท เป็นผู้ไม่ควรเพื่อความเสื่อม ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติใกล้พระนิพพานทีเดียว