มงคลที่ ๒๐ สำรวมจากการดื่มน้ำเมา - เลิกดื่มอย่างเด็ดขาด
ภายใน ๗ วันนั้น ทั้งเมืองจะหยุดการทำงานทุกอย่าง มีแต่การละเล่นมหรสพ และการดื่มสุราเท่านั้น โดยภรรยาจะจัดแจงหาสุรามาให้สามีดื่ม และคอยต้อนรับเลี้ยงแขกที่มาเยือน เมื่อครบ ๗ วัน ทุกคนจะเลิกดื่มกันทันที และต่างเริ่มงานกันตามปกติ แต่พวกภรรยาเห็นว่า สุราที่เตรียมไว้ยังมีเหลืออยู่ จึงอยากจะดื่มบ้าง
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๘)
พระรัตนตรัย คือ รัตนะอันลํ้าค่ายิ่งกว่ารัตนะใดๆ ในโลก เพราะเป็นที่พึ่งที่ระลึกทั้งในโลกนี้และโลกหน้า...
พระพุทธลีลา
พระ ผู้เป็นนาถะของโลก ทรงสมบูรณ์ด้วยจรณะ ไม่ก้าวพระบาทยาวในที่ไกลมาก ไม่ก้าวพระบาทถี่ในที่ใกล้มาก เสด็จดำเนินไม่เสียดสีพระชานุ และข้อพระบาททั้งสอง เสด็จดำเนินไม่เร็วนักไม่ช้านัก ขณะเสด็จดำเนินก็มีสมาธิ พระหฤทัยตั้งมั่น ไม่ทอดพระเนตรขึ้นเบื้องบน หรือลงเบื้องต่ำ ทอดพระเนตรเพียงชั่วแอก มีพระอาการเยื้องกรายคล้ายพญาช้าง ทรงทำโลกพร้อมทั้งเทวโลกให้ร่าเริง ทรงงดงามดุจดวงจันทราในยามรัตติกาล
อานิสงส์การอุปัฏฐาก
ผู้ใดมีศรัทธาตั้งมั่น มีความรักตน มีศรัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมบำรุงพระตถาคตหรือพระสาวก การบำรุงนี้ ย่อมเยี่ยมกว่าการบำรุงทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่งสัตว์ทั้งปวง เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน
เมณฑกเศรษฐีผู้ใจบุญ (๔)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การถือประมาณบุญแห่งทักษิณาทานที่ประกอบด้วยองค์ ๖ ประการอย่างนี้ว่า ห้วงแห่งบุญกุศลมีประมาณเท่านี้ นำสุขมาให้ มีอารมณ์เลิศ มีสุขเป็นผล เป็นไปเพื่อสวรรค์ ย่อมเป็นไปเพื่อสิ่งน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข ไม่ใช่ทำได้ง่าย โดยที่แท้ บุญแห่งทักษิณาทานนั้น ย่อมถึงการนับว่า เป็นห้วงแห่งบุญกุศลที่จะนับไม่ได้ ประมาณไม่ได้ เป็นกองบุญใหญ่
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - ชื่อนั้นสําคัญอย่างไร
จริงหรือที่ว่า ชื่อนั้นมีผลต่อธุรกิจการงาน ชีวิตความเป็นอยู่ของคนเรา แล้วจำเป็นหรือไม่ที่เราจะต้องไปเปลี่ยนชื่อใหม่เพื่อความเจริญรุ่งเรืองของตน แ้ล้วชื่อความความสำคัญกับตัวเราอย่างไร ?
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๓ )
"ระหว่างพระพุทธเจ้ากับท่านอุรุเวลกัสสปะ ใครหนอจะมีอานุภาพมากกว่ากัน" พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงล่วงรู้ความคิดของชาวเมือง จึงตรัสถามท่านว่า "ดูก่อนกัสสปะ ท่านเคยเป็นอาจารย์สั่งสอน หมู่ชฎิลผู้ผ่ายผอมเพราะกำลังประพฤติพรต ท่านเห็นอะไรจึงได้ ละไฟที่เคยบูชาเสียเล่า ท่านเห็นประโยชน์อะไรจึงมาประพฤติพรหมจรรย์กับเรา"
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๕ )
พระพี่เลี้ยงได้ยินข่าวลือว่า "พระราชาทรงฟังถ้อยคำของอาชีวกผู้เป็นมิจฉาทิฏฐิ จึงรับสั่งให้รื้อโรงทานที่ประตูเมืองทั้งสี่ บัดนี้ทรงมัวเมาแต่เบญจกามคุณ มิได้สนพระทัยในพระราชกรณียกิจเลย"
มิจฉาสมาธิ
เจริญพุทธานุสติ
ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้เป็นพระอรหันต์ ผู้ตรัสรู้แล้วเองโดยชอบ พระองค์นั้น